โรคสมาธิสั้นถือเป็นกลุ่มอาการอันดับต้นๆ ที่เด็กยุคใหม่กำลังเผชิญอยู่เป็นจำนวนมาก อาจเพราะสภาพแวดล้อมรอบตัว ไม่ว่าจะเป็นสิ่งเร้าอย่างเทคโนโลยี วิธีการเลี้ยงดู หรือแม้แต่พฤติกรรมของคุณพ่อคุณแม่ก็อาจมีส่วนที่ทำให้ลูกมีโอกาสที่จะมีอาการสมาธิสั้นมากขึ้น และหากไม่ได้รับการรักษาอย่างถูกต้อง โรคสมาธิสั้นจะติดตัวเด็กไปจนเติบโตเป็นผู้ใหญ่ มีผลทำให้พัฒนาการไม่เป็นไปตามวัย เรียนรู้ช้า สมาธิไม่ดี การคิดและตัดสินใจต่างๆ ไม่มีประสิทธิภาพเท่าที่ควร
ทีมงาน M.O.M ได้เข้าร่วมฟัง โครงการความรู้สู่พ่อแม่และครูครั้งที่ 12 หัวข้อ ‘เด็กสมาธิสั้นกับสังคมออนไลน์’ และสรุปประเด็นคำถาม-คำตอบเกี่ยวกับการให้ลูกกินยารักษาโรคสมาธิสั้นมาช่วยคลี่คลายความสงสัยให้กับคุณพ่อคุณแม่ที่กำลังพยายามรักษาโรคสมาธิสั้นให้ลูกน้อยของเรากันค่ะ
หากคุณหมอเคยวินิจฉัยว่าลูกของคุณเป็นโรคสมาธิสั้น หรือคุณพ่อคุณแม่กำลังสงสัยว่าลูกมีอาการของโรคสมาธิสั้นหรือเปล่า ลองสังเกตพฤติกรรมอาการข้างเคียงอื่นๆ ที่เกิดขึ้นกับลูกควบคู่กันไปด้วยก็ได้ เพราะไม่ใช่แค่โรคสมาธิสั้นเท่านั้นที่น่าเป็นห่วง แต่มันอาจจะพ่วงความผิดปกติทางพัฒนาการซึ่งเป็นอาการของทางจิตเวชอีก 3 โรค ดังนี้
หากเราเป็นคุณแม่ที่คุณหมอวินิจฉัยบอกว่าลูกเป็นโรคสมาธิสั้น ก็คงถือเป็นเรื่องที่สร้างความทุกข์ใจให้กับครอบครัวไม่น้อย แต่ไม่ใช่กับ คุณแม่บุ๋ม—ภัทรา เลิศชนะเรืองฤทธิ์ เพราะเมื่อทราบว่าน้องวีวี่ลูกสาววัยเจ็ดขวบ ที่เป็นเด็กซุกซนเกินพอดี ไม่มีสมาธิ วอกแวกง่าย และไม่ค่อยอยู่นิ่งได้เลย มีสาเหตุมาจากโรคสมาธิสั้น นี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการสัมภาษณ์ว่าเลี้ยงลูกที่เป็นสมาธิสั้นอย่างไรให้มีความสุข
คุณพ่อคุณแม่หลายคนเห็นลูกซนแล้วก็เป็นห่วงกลัวว่าลูกจะกลายเด็กสมาธิสั้น เพราะพฤติกรรมของเด็กซนกับเด็กสมาธิสั้นมีความใกล้เคียงกันมาก
แม้โรคสมาธิสั้นยังรักษาให้หายขาดไม่ได้ แต่คุณพ่อคุณแม่นี่แหละคือตัวแปรสำคัญของอนาคตลูก มาทำความเข้าใจธรรมชาติของโรคสมาธิสั้น และมองโรคนี้มุมบวกกันดีกว่า
คุณพ่อคุณแม่ต้องไม่มองข้ามความซนของลูกน้อย เพราะมันอาจนำไปสู่ปัญหาด้านพัฒนาการ ไปจนถึงสุขภาพจิตของลูกในอนาคต
- 1
- 2
- 3
- 4
- Next Page →