Category: Columnist

PLAY NO MATTER WHAT การเรียนรู้ที่หน้าตาเหมือนการเล่นสนุก (3)

ผ่านมาหลายตอน ชวนเล่นมาตลอด แต่ไม่ได้ต้องการด้อยค่าระบบการศึกษาหรือพื้นที่ทางการศึกษาอย่างโรงเรียนนะคะ ไม่ได้จะบอกว่า เล่นไปเถอะ หนังสือไม่ต้องเรียน โรงเรียนไม่ต้องไปแล้ว ไม่ใช่เลยนะ แค่อยากให้ทุกคนตามหาหัวใจสำคัญของการเรียนรู้ให้เจอ

PLAY NO MATTER WHAT EP.6 การเรียนรู้ที่หน้าตาเหมือนการเล่นสนุก (2)

ยังคงอยู่กับหัวข้อที่ว่า การเรียนรู้ที่หน้าตาเหมือนการเล่นสนุกนั้นเป็นอย่างไร แล้วโรงเรียน (หรือพื้นที่เรียนรู้ในรูปแบบอื่นๆ) ที่เห็นคุณค่าของการเล่นสนุก หน้าตาเป็นแบบไหน และมีอยู่จริงหรือเปล่า

PLAY NO MATTER WHAT Ep. 04 การเรียนรู้ที่หน้าตาเหมือนการเล่นสนุก (1)

พยายามสื่อสารมาสองตอนแล้วว่า ‘การเล่น’ มีคุณค่าอยู่ในตัวของมัน โดยไม่จำเป็นต้องให้ใครเอาไปผูกไว้กับการเรียนรู้เลยก็ได้เพราะถ้าถามนักเล่น ซึ่งก็หมายถึงเด็กๆ ว่า เราเล่นกันไปเพื่ออะไร ก็ไม่น่าจะมีใครตอบว่าเล่นเพื่อเรียนรู้เลยล่ะ วันนี้ ก็เลยอยากจะชวนคุยกันต่อ แต่เป็นประเด็นที่ว่า แล้วถ้าอย่างนั้น การเรียนรู้ที่ดูเหมือนการเล่นสนุกล่ะ มีอยู่จริงหรือเปล่า

PLAY NO MATTER WHAT ขอคืนพื้นที่ให้ ‘การเล่น’ (ที่ไม่จำเป็นต้องเป็นการเรียนรู้) ตอนที่ 2

ในขณะที่เด็กๆ นักเล่นทั้งหลาย เล่นเพื่อเรียนรู้สิ่งใหม่ๆ และความมหัศจรรย์ของโลกใบนี้ แต่เด็กๆ ไม่เคยคิดที่จะให้คุณค่าหรือให้ความหมายว่าการเล่นเท่ากับการเรียนรู้เลยนะ เพราะการเล่น สำหรับเด็กๆ มันสมบูรณ์อยู่แล้วในตัวของมัน ไม่จำเป็นต้องให้ใครเอาการเรียนรู้มาผูกติดอยู่กับมัน เพื่อให้มันมีคุณค่ามากขึ้นก็ได้ ผู้ใหญ่เท่านั้นแหละ ที่ต้องมองให้เห็น ว่าการเล่นมีคุณค่าในตัวของมันเองแค่ไหน โดยที่ไม่ต้องไปคอยจับจ้องว่าเด็กๆ ได้เรียนรู้อะไร หรือได้เรียนรู้ในสิ่งนั้นหรือสิ่งนี้ไปจากการเล่นตรงหน้าแล้วหรือยัง

PLAY NO MATTER WHAT ขอคืนพื้นที่ให้ ‘การเล่น’ (ที่ไม่จำเป็นต้องเป็นการเรียนรู้) ตอนที่ 1

การเล่นไม่ทำร้ายใคร ไม่ตัดสินคุณค่าในตัวใคร ไม่มีใครมาจัดอันดับในโลกของการเล่น ทุกคนเล่นเป็น ทุกคนเล่นได้ ทุกคนสนุกในรูปแบบหรือหนทางการเล่นของตัวเองได้ การเล่นเลยดีต่อหัวใจ ดีต่อตัวตนของเด็กๆ อย่างนี้

Play no matter what 01: PLAY IN CRISIS เล่นแม้ยามยาก

PLAY NO MATTER WHAT: คอลัมน์ใหม่โดย อ้อมขวัญ เวชยชัย หรือครูใบปอ ผู้ก่อตั้ง CREAM Bangkok (โรงแรมมหัศจรรย์ของเด็กๆ) เพื่อบอกเล่าเรื่องราวของการเล่นในแง่มุมต่างๆ ที่ค้นพบผ่านการอ่านและการใช้เวลาคลุกคลีกับนักเล่นทั้งหลาย เพื่อสื่อสารกับผู้ใหญ่ให้เห็นถึงคุณค่าและความสำคัญของการเล่น

KIDS STORY: คาราวานมด

เหตุการณ์ที่ทุกคนในประเทศกำลังสนใจร่วมกันในตอนนี้ และคงสร้างแรงกระเพื่อมไปในอนาคตอีกยาวนาน ก็คือการชุมนุมเพื่อเรียกร้องสิทธิ์และความชอบธรรมในการปฏิรูปบ้านเมือง ที่กลุ่มเยาวชน นักเรียน และนักศึกษาได้เข้ามามีส่วนร่วมและมีบทบาทสำคัญมากกว่าการชุมนุมทุกครั้งที่ผ่านมา ‘เพราะการเมืองเป็นเรื่องของทุกคน’

KIDS STORY: ไปโรงเรียนวันแรก

วันแรกของการไปเรียน ไม่ใช่แค่วันที่น่าตื่นเต้นของลูกเท่านั้น แต่พ่อแม่เองก็ตื่นเต้นไม่แพ้กัน การปล่อยลูกออกจากอ้อมอกเป็นครั้งแรกต้องใช้ความกล้าหาญ ความเข้มแข็ง ความเชื่อมั่นในตัวลูก และไว้วางใจโรงเรียนเป็นอย่างมาก นิทานเรื่อง ไปโรงเรียนวันแรก จึงหยิบเอาประเด็นนี้มาบอกเล่าในรูปแบบที่กลับตาปัตร เมื่อคนที่น่าเป็นห่วงในการไปโรงเรียนวันแรกไม่ใช่ลูก แต่คือพ่อแม่ต่างหาก

นิทาน 3 เรื่องที่จะช่วยให้ลูกยอมรับและกล้าจะแตกต่าง โดย เจลดา ภูพนานุสรณ์

การยอมรับความแตกต่าง เป็นจุดเริ่มต้นที่จะนำไปสู่การปฏิบัติตัวกับผู้คนรอบข้างอย่างเท่าเทียม ดังนั้นการปลูกฝังทัศนคตินี้ให้ลูกตั้งแต่ยังเล็กจึงเป็นเรื่องจำเป็น ไม่ใช่แค่เพื่อให้ลูกได้เป็นเด็กที่รู้จักเปิดใจกว้างและมีเมตตาในการปฏิบัติตัวกับผู้อื่น แต่ยังเพื่อให้ลูกรู้จักสร้างความกล้าหาญที่จะทำสิ่งที่แตกต่างและสร้างสรรค์โดยไร้ซึ่งกำแพงแห่งความกลัวการเป็นคนที่แตกต่างอีกด้วย

หนังสือนิทานกับความตาย

การสร้างความเข้าใจให้เด็กเรียนรู้ว่าการเกิด แก่ เจ็บ ตาย ทุกอย่างเป็นไปตามธรรมชาติ จึงเป็นเรื่องสำคัญ นิทานหลายเรื่องจึงเกิดขึ้นเพื่อเข้ามาเป็นผู้ช่วยคุณพ่อคุณแม่ บอกเล่าเรื่องราวที่น่าเศร้านี้อย่างละมุนละม่อม วันนี้เรามีนิทานที่เกี่ยวกับความตายมาแนะนำคุณพ่อคุณแม่ 3 เรื่องด้วยกัน