Category: INTERVIEW

ความกังวลของพ่อแม่คือภาพสะท้อนของสังคม: คุยเรื่องอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จากประสบการณ์สามสิบปีในวงการพ่อแม่ของ สุภาวดี หาญเมธี แห่ง ‘รักลูกกรุ๊ป’

วันหนึ่งในแอปพลิเคชัน Clubhouse เราตั้งห้องคุยว่าด้วยบทบาทของปู่ย่าตายายกับการเลี้ยงเด็กในยุคสมัยนี้ ด้วยความตั้งใจที่อยากจะเข้าใจมุมคิดของฝั่งผู้ใหญ่ด้วย จึงได้ชวน พี่ติ่ง—สุภาวดี หาญเมธี ประธานกรรมการบริหารสถาบันรักลูกกรุ๊ป (RLG) อดีตบรรณาธิการนิตยสารรักลูก และผู้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนเพลินพัฒนา เข้ามาร่วมวงพูดคุย ในฐานะ คุณย่า ของหลานชายวัยซนสองคน

คุยกับ เมริษา ยอดมณฑป จากเพจ ตามใจนักจิตวิทยา ผู้รับฟังและที่ปรึกษาที่แสนดีของครอบครัว

เม—เมริษา ยอดมณฑป นักจิตวิทยาเด็กและครอบครัว ที่คุณพ่อคุณแม่และเด็กๆ เรียกเธอว่า ‘ครูเม’ เจ้าของเพจที่ให้ความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับจิตวิทยาเด็กและครอบครัว ‘ตามใจนักจิตวิทยา’ และหนึ่งในผู้ก่อตั้ง ‘ห้องเรียนครอบครัว’ ห้องเรียนสำหรับครอบครัวที่จะเข้ามาเรียนรู้เพื่อเติบโตไปด้วยกัน โดยพุ่งเป้าไปที่การป้องกันแทรกแซงก่อนเกิดโรค(Early Intervention) ผ่านกระบวนการบำบัดต่างๆ

คุยกับนักจิตวิทยา ‘เบญจรัตน์ จงจำรัสพันธ์’ ในวันที่บ้านอาจจะไม่ใช่พื้นที่ปลอดภัยสำหรับทุกคน

หนึ่งข่าวที่อยู่ในความสนใจและเป็นที่พูดถึงของชาวเน็ตอย่างมาก ก็คือการที่นักร้องสาวคนหนึ่งเปิดเผยว่าเคยถูกน้องชายแท้ๆ ทำร้ายร่างกาย และรุนแรงแทบจะ
ไม่ว่าจะเป็นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นภายใต้อาการป่วยหรือภาวะทางจิตของผู้ก่อเหตุหรือไม่ก็ตาม สิ่งที่คนภายนอกมองเห็นและรู้สึกถึงความผิดปกติของเรื่องที่เกิดขึ้นก็คือ ครอบครัวที่ควรจะเป็นสังคมที่อบอุ่นที่สุดของคนคนหนึ่ง บ้านที่ควรจะเป็นที่ที่ปลอดภัยที่สุดของคนคนหนึ่ง กลับทำหน้าที่เหล่านั้นไม่ได้

คุยกับเจลดา ภูพนานุสรณ์—หญิงสาวนักเล่าและนักแต่งนิทานที่ใช้การทำงานกับเด็กชุบชูชีวิตตัวเอง

เราเดินทางมาที่ห้องสมุดดรุณบรรณาลัยตอนสายของวันพุธ วันที่เด็กหลายคนอาจจะกำลังใช้เวลาเล่นสนุกอยู่ในโรงเรียน แต่ก็ยังมีเด็กๆ ก่อนวัยเรียนบางคนที่คุณพ่อคุณแม่พามาใช้เวลาอยู่ที่ห้องสมุดแห่งนี้ เพราะวันนี้ที่นี่มีกิจกรรมเล่านิทาน และเราก็นัดแนะกับ เจ—เจลดา ภูพนานุสรณ์ หญิงสาวผู้รับหน้าที่เป็นนักเล่านิทานและชวนเด็กๆ ร้อง เต้น และเล่นสนุกด้วยกันก่อนที่คุณพ่อคุณแม่จะพาเด็กๆ แยกย้ายกันไปหยิบจับหนังสือในห้องสมุดกันตามอัธยาศัย

INTERVIEW: เมื่อการแคมป์ปิ้งคือคำว่าครอบครัว คุยกับคุณพ่อคิมหันต์—ณัฐพล ไชยขันธ์ (เจ้าของเพจ GuStory)

พูดคุยกับ คิมหันต์—ณัฐพล ไชยขันธ์ คุณพ่อและเจ้าของแชแนลยูทูบ GuStory ผู้รักและหลงใหลการแคมป์ปิ้งที่เคยเกือบละทิ้งความชอบนี้ไปตอนมีลูก จนกระทั่งวันที่พบว่าเขาสามารถพาลูกและแม่ของลูก ออกเดินทางด้วยอุปกรณ์แคมป์ปิ้งเต็มคันรถ ช่วยกันกางเต็นท์ ทำอาหาร และใช้เวลาร่วมกันอย่างมีความสุขได้แม้จะไม่สะดวกสบายเท่าที่พักอื่นๆ ก็ตาม

Why Do We Play? รู้ไหมทำไมเด็กต้องเล่น

ดูเหมือนว่า เด็กกับการเล่นสนุกจะเป็นสิ่งที่มาคู่กันเสมอ พ่อแม่หรือผู้ใหญ่อย่างเราย่อมเคยรู้สึกว่า ทำไมเวลาเห็นเด็กๆ เล่นอะไรแล้วถึงได้ดูสนุกไปเสียทุกอย่าง ทำไมของเล่นบางอย่างเด็กๆ ถึงใช้เวลาสนุกและเรียนรู้อยู่กับมันได้เป็นเวลานานๆ เราเดินทางมาที่โรงเรียนนานาชาติโชรส์เบอรีกรุงเทพ ซิตี้แคมปัส เพื่อพูดคุยกับ แคทเธอรีน โอคิล—ผู้ช่วยอาจารย์ใหญ่ และเฮย์ลีย์ กิลเลียม—หัวหน้าสายชั้นอนุบาล 1 สองคุณครูผู้เข้าใจธรรมชาติของการเรียนรู้ และทำให้การเล่นสนุกของเด็กๆ เป็นการเรียนรู้อย่างปลอดภัย

INTERVIEW: ความพิเศษของลูก เปลี่ยนคุณพ่อให้เป็นนักบำบัด ‘ศุภฤทธิ์ ทวีเกียรติ’ เจ้าของเพจ Sand Tray Play ก็ดี Therapy ก็ได้

เราได้มีโอกาสเข้าไปพูดคุยกับ คุณพ่อฤทธิ์—ศุภฤทธิ์ ทวีเกียรติ คุณพ่อเลี้ยงเดียวของน้องเซน—ลูกชายวัย 8 ปี ที่เกิดมาพร้อมโรคอัลฟีซินโดรม (Alfi’s Syndrome) และเป็นที่มาที่ให้คุณฤทธิ์หันมาให้ความสนใจการบำบัดด้วยศาสตร์และวิธีต่างๆ จนมาลงตัวที่การบำบัดด้วยถาดทราย (sandtray.play.therapy) ที่นอกจากจะลงมือลงแรงศึกษาเพื่อใช้ในการบำบัดและส่งเสริมพัฒนาการให้กับน้องเซนแล้ว ยังเปิดบ้านเพื่อใช้ความรู้ด้านการบำบัดด้วยถาดทรายให้เป็นประโยชน์ทั้งกับเด็ก คุณพ่อคุณแม่ และคนอื่นๆ ต่อไป

WORK WITH KIDS: พิมพ์พิชา อุตสาหจิต—กับภารกิจแปลงโฉม ‘มหาสนุก’ ให้เป็นการ์ตูนความรู้สำหรับเด็กเจนฯ Z

ถ้าพูดถึงหนังสือการ์ตูนแก๊กสัญชาติไทย ชื่อ ขายหัวเราะ และ มหาสนุก น่าจะต้องถูกหยิบยกขึ้นมาพูดถึงเป็นอันดับแรกๆ แต่น้อยคนนักที่จะรู้ว่า ถ้านับจนถึงปัจจุบันนี้ ขายหัวเราะ มีอายุอยู่ในวงการหนังสือมาแล้วกว่า 47 ปี (ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2516) ส่วนหนังสือการ์ตูนเล่มน้องอย่าง มหาสนุก ก็มีอายุ 45 ปี (ตีพิมพ์ครั้งแรกในปี พ.ศ. 2518)

เมื่อโรงเรียนเป็นพื้นที่ปลอดภัย ความสบายใจจะเกิด การเรียนรู้ก็จะตามมา: แนวทางสร้างการเรียนรู้ให้เด็ก ครู และผู้ปกครอง สไตล์ครูจุ๊ย—กุลธิดา แห่งโรงเรียนต้นกล้า

ครูจุ๊ย—กุลธิดา รุ่งเรืองเกียรติ คนเดิมที่เราเคยชวนคุยเมื่อครั้งยังเป็นผู้สมัครรับเลือกตั้งระบบบัญชีรายชื่อเมื่อปีก่อน แต่บทบาทใหม่หลังมีเหตุการณ์ให้ต้องก้าวออกมาจากงานในสภาผู้แทนราษฎรในฐานะส.ส.ผู้ผลักดันนโยบายด้านการศึกษา คือการมารับตำแหน่งประธานกรรมการบริหารงานโรงเรียนต้นกล้า จังหวัดเชียงใหม่

Interview: ครูนุช-อนุสรา ดีไหว้ จากลูกศิษย์สู่การเป็นอาจารย์ผลิตผู้สร้างหนังสือเด็ก กับความท้าทายบนโลกที่มีแพลตฟอร์มหลากหลายยิ่งขึ้น

ครูนุช–อนุสรา ดีไหว้ อาจารย์ประจำสาขาวิชาวรรณกรรมสําหรับเด็ก มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ บอกกับเราเพื่อตอบคำถามที่ว่า ‘สาขาวิชานี้เขาเรียนอะไรกัน’ คำตอบนี้ไม่ได้ถ่ายทอดจากแค่มุมของความเป็นอาจารย์เท่านั้น แต่ครูนุชยังเป็นศิษย์เก่ารุ่นแรกๆ ของคณะมนุษย์ศาสตร์ สาขาวิชาวรรณกรรมเด็ก ในวันที่คุณครูแนะแนวยังไม่รู้ว่าสาขาวิชานี้เขาเรียนและสอนอะไรกัน แต่ด้วยความชอบอ่าน ชอบเขียน ครูนุชเลยได้เข้าไปเล่าเรียนเพื่อเป็น ‘นักทำหนังสือสำหรับเด็ก’