งานวิจัยในวารสาร The Lancet Planetary Health พบว่ามลพิษจากฝุ่นละออง หรือ PM 2.5 ในประเทศอินเดีย ปากีสถาน และบังกลาเทศ อาจมีส่วนสำคัญที่ทำให้ทารกตายตั้งแต่อยู่ในครรภ์ หรือผู้หญิงเกิดการแท้งบุตรได้ ดร. เทาซู่..
จากสถานการณ์ฝุ่น PM2.5 ที่ยังคงวิกฤติอย่างต่อเนื่องและส่งผลกระทบต่อร่างกายของผู้คนจำนวนมาก เช่นเดียวกันเด็กหญิงวัย 8 ขวบ อาศัยอยู่ในพื้นที่ตำบลสันผีเสื้อ อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ ก็อีกเป็นหนึ่งในผู้ที่ได้รับผลกระทบจากฝุ่น PM2.5 โดยมีอาการเลือดกำเดาไหลออกมาจากจมูก หลังจากช่วงสัปดาห์ที่ผ่านมามีอาการปวดหัว หายใจลำบาก มีอาการคล้ายเป็นหวัดแต่ไม่มีน้ำมูก..
เมื่อวันที่ 31 ต.ค. นพ.อรรถพล แก้วสัมฤทธิ์ รองอธิบดีกรมอนามัย กล่าวถึงการรับมอบเครื่องตรวจวัดปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กในบรรยากาศด้วยระบบเซนเซอร์ (Dust Boy) จากกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) จำนวน 500..
เป็นที่รู้กันดีว่าฝุ่น PM 2.5 ส่งผลกระทบต่อสุขภาพร่างกายของเรามากแค่ไหน โดยเฉพาะครอบครัวที่มีลูกเล็ก ยิ่งปฏิเสธไม่ได้เลยว่า ปัญหาค่าฝุ่นเกินมาตรฐานนั้น ทำให้คุณพ่อคุณแม่ทั้งเป็นห่วงและกังวลว่าจะเป็นอันตรายกับลูกมากกว่าที่คิด
NEWS UPDATE: หมอโพสต์ภาพค่าฝุ่นในห้องทารกแรกคลอด ค่าฝุ่นสูงถึง 389 แม้ว่าจะใช้เครื่องฟอกอากาศหลายตัว
เพจ Doctor กล้วย ได้โพสต์ภาพเครื่องฟอกอากาศ ณ ห้องทารกแรกคลอดในโรงพยาบาลแห่งหนึ่งของภาคเหนือ ขณะที่เครื่องฟอกอากาศได้แสดงค่าฝุ่น หรือ ค่า AQI ในห้องทารกแรกคลอดนั้นสูงถึง 389 ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสถานการณ์ฝุ่น PM 2.5..
พญ.พวงรัตน์ ตั้งธิติกุล แพทย์เฉพาะทางด้านอายุรศาสตร์โรคระบบการหายใจและภาวะวิกฤตโรคระบบการหายใจ ศูนย์อายุรกรรม โรงพยาบาลนวเวช กล่าวว่า ฝุ่น PM 2.5 เป็นฝุ่นละอองขนาดจิ๋วที่มีขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ก่อให้เกิดอันตรายได้ เพราะมันสามารถทำหน้าที่เป็นตัวกลางพาสารอื่นๆ เช่น..
นายแพทย์นิธิพัฒน์ เจียรกุล ได้โพสต์ข้อความผ่านเฟซบุ๊กส่วนตัวระบุว่า จากการติดตามเด็กอนุบาล จำนวน 115,023 คน จาก 551 เมือง ในประเทศจีน พบว่าการสัมผัสฝุ่น PM 2.5 ตั้งแต่ในครรภ์จนถึงวัยเด็กเล็ก..
จากการจัดข้อมูลโดยเว็บไซต์ IQAir เมื่อวันที่ 2 กุมภาพันธ์ 2566 ได้ระบุว่า กรุงเทพฯ ติดอันดับ 6 ของโลก เป็นเมืองที่มลพิษทางอากาศสูงของโลก โดยดัชนีคุณภาพอากาศอยู่ที่ 178 AQI ..
ผลการวิจัยของ ดร.เทา เสวีย (Tao Xue) แห่งมหาวิทยาลัยปักกิ่ง เปิดเผยว่า มลพิษทางอากาศมีส่วนทำให้ทารกเสียชีวิตในครรภ์มารดาเกือบ 1 ล้านเคสต่อปี โดยระบุว่า เกือบครึ่งของเคสเด็กเสียชีวิตในครรภ์มีส่วนเชื่อมโยงกับการที่มารดาสูดหายใจเอาอนุภาคมลภาวะที่มีขนาดเล็กกว่า 2.5 ไมครอน หรือที่รู้จักกันในชื่อ..
กลับมาที่ปัญหาฝุ่นละออง PM 2.5 ที่เรียกได้ว่าอยู่กับเรามาอย่างยาวนาน พอเริ่มอากาศนิ่ง ไม่มีฝนตก ไม่ค่อยมีลมพัด เจ้าวายร้ายก็กลับมาอีกครั้ง ปลิวว่อนในอากาศ ล่องลอยเหมือนกลุ่มหมอกที่คอยหลอกให้เราตายใจ ฝุ่น PM 2.5 เป็นฝุ่นละอองที่มีขนาดเล็กเพียง 2.5 ไมครอน ถ้าเทียบก็ประมาณ 1 ใน 25 ของเส้นผ่านศูนย์กลางของเส้นผม ด้วยขนาดที่เล็กมากจึงสามารถแทรกซึมเข้าสู่ระบบสำคัญในร่างกายมนุษย์ได้ง่าย โดยเฉพาะกับระบบทางเดินหายใจ