Category: air pollution

NEWS UPDATE: งานวิจัยเผยแม่ที่รับมลพิษทางอากาศระหว่างตั้งครรภ์อาจเสี่ยงทำให้ลูกเจริญเติบโตช้ากว่าปกติ

มลพิษทางอากาศถือเป็นปัญหาที่เริ่มมีมากขึ้นในปัจจุบัน ด้วยสภาพของเมืองที่เจริญเติบโต อุตสาหกรรมต่างๆ ที่ทำงานอย่างหนัก ทำให้อากาศเต็มไปด้วยฝุ่น ควัน ในปริมาณที่เยอะขึ้นเรื่อยๆ  ซึ่งงานวิจัยจาก Barcelona Institute for Global Health หรือ ISGlobal..

NEWS UPDATE: มลพิษทางอากาศทำให้หญิงตั้งครรภ์เสี่ยงแท้งลูกพอ ๆ กับการสูบบุหรี่

นักวิจัยค้นพบว่ามลพิษทางอากาศส่งผลอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์พอๆ กับการสูบบุหรี่ ทำให้ทีมนักวิจัยแสดงถึงความวิตกกังวลเกี่ยวกับเรื่องนี้และอยากให้มีมาตรการจัดการกับมลพิษทางอากาศเพื่อคนรุ่นต่อๆ ไปในอนาคต อย่างที่ทราบกันว่ามลพิษทางอากาศเป็นอันตรายต่อหญิงตั้งครรภ์ และมลพิษทางอาการทำให้เด็กคลอดก่อนกำหนด และทำให้เด็กทารกแรกเกิดมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ นอกจากนี้ยังมีงานวิจัยอีกชั้นพบสารพิษจากมลภาวะทางอากาศอยู่ในรกของเด็กทารกอีกด้วย การศึกษาครั้งล่าสุดเพื่อประเมินผลกระทบระยะสั้นของมลภาวะทางอากาศพบว่าการเพิ่มขึ้นของก๊าซไนโตรเจนไดออกไซด์ ก๊าซที่เผาผลาญเชื้อเพลิงในรถดีเซล ทำให้หญิงตั้งครรภ์เพิ่มโอกาสเสี่ยงที่จะแท้งถึง 16 เปอร์เซ็นต์   ที่มา..

คุยกับ พญ.ปุษยบรรพ์ สุวรรณคีรี (เจ้าของเพจ Dr. Pam book club หมอแพมชวนอ่าน): ฝุ่น PM 2.5 ฝุ่นละอองขนาดจิ๋ว แต่พิษภัยมหาศาลต่อร่างกาย

ปีนี้เราเปิดศักราชต้อนรับปีพุทธศักราช 2562 ด้วยฝุ่นละออง PM 2.5 เจ้าฝุ่นละอองได้ปกคลุมไปยังหลายพื้นที่ในกรุงเทพมหานคร และนี่เป็นสาเหตุที่ทำให้ประชาชนต้องหันมาใส่หน้ากากเข้าหากันอย่างจริงจังมากขึ้น เพื่อลดปริมาณฝุ่นที่จะเข้าสู่ร่างกาย

9 เทคนิค ปกป้องลูกจากมลภาวะทางอากาศ

คุณรู้ไหมว่าเด็กมีอัตราการหายใจเข้าออกมากกว่าผู้ใหญ่ ด้วยร่างกายที่ตัวเล็กกว่ายิ่งทำให้เสี่ยงต่อมลภาวะทางอากาศมากกว่า หายใจเข้าออกไม่กี่ทีฝุ่นละอองก็อัดแน่นเต็มปอดไปหมด ซึ่งในระยะยาวมันจะมีผลกระทบต่อทั้งสุขภาพ สมองและพัฒนาการของเด็ก วันนี้เราจึงมี 9เทคนิคที่จะปกป้องลูกจากมลภาวะทางอากาศมาฝาก

NEWS UPDATE: มลพิษทางอากาศทำให้เด็กคลอดก่อนกำหนด และน้ำหนักตัวแรกเกิดต่ำกว่าเกณฑ์มาตรฐาน

นักวิทยาศาสตร์เตือนให้ระวังเขม่าควันที่ลอยปะปนในอากาศ เพราะสามารถปนเปื้อนรกของหญิงตั้งครรภ์ และอาจเป็นอันตรายต่อเด็กในท้องได้ ทีมวิจัยจากมหาวิทยาลัยควีนแมรี่ (Queen Mary University) ในสหราชอาณาจักร กล่าวว่า อนุภาคคาร์บอนเล็กๆ จากการเผาไหม้เชื้อเพลิงจะเข้าสู่ร่างกายและกระแสเลือดด้วยการหายใจเข้าไป ดร.นอร์ริซ ลิว (Dr Norrice..