แคลเซียมเป็นแร่ธาตุที่ร่างกายไม่สามารถสังเคราะห์ขึ้นได้ จึงมีสำคัญต่อความแข็งแรงของโครงสร้างกระดูก หากร่างกายรับแคลเซียมในปริมาณที่ไม่เพียงพอ จะเพิ่มความเสี่ยงในการเกิด ‘ภาวะกระดูกพรุน’ เมื่อได้กินแคลเซียมเข้าไปจะถูกสะสมไว้ในโครงสร้างกระดูก ช่วยให้กระดูกมีความแข็งแรง จากการศึกษาความหนาแน่นมวลกระดูกในช่วงอายุต่างๆ พบว่า มวลกระดูกจะเพิ่มมากขึ้นเป็นลำดับตั้งแต่วัยเด็ก และมีค่ามวลกระดูกสูงสุด (peak bone mass) ในช่วงอายุ..
แม้ว่าปัจจัยต่างๆ เช่น อายุและเพศ มีผลต่อโอกาสในการเป็นโรคกระดูกพรุน แต่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตหลายๆ อย่าง ก็สามารถลดความเสี่ยงจากโรคนี้ได้ ซึ่งรวมไปถึงการแนะนำให้เด็กแรกเกิดกินนมแม่ถึงหนึ่งขวบ และเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 1-4 ปีต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนทุกหมวดหมู่