Category: food

NEWS UPDATE: กินบรอกโคลีช่วยลดความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพจิต

เส้นใยของบรอกโคลีช่วยให้ระบบทางเดินอาหารของคุณแข็งแรง มีภูมิคุ้มกันที่ดี ไปจนถึงลดความเครียดในสมอง

จะรู้ได้ยังไงว่าลูกแพ้อาหาร : 5 อาการที่แสดงว่าลูกแพ้อาหารเข้าให้แล้ว

เห็นเด็กๆ กินอาหารแล้วมีอาการผิดปกติ อย่าได้ชะล่าใจหรือคิดว่าเป็นอาการป่วยไข้ธรรมดา เพราะลูกอาจแพ้อาหาร และจะมีอาการหนักขึ้นเรื่อยๆ หากยังฝืนกินอาหารเดิมซ้ำๆ มาสังเกตอาหารและอาการของลูกให้ละเอียดขึ้นอีกนิดกันดีกว่า

NEWS UPDATE: กินโยเกิร์ตทุกวัน ช่วยรักษาโรคหัวใจและโรคอื่นๆ ได้

การกินโยเกิร์ตก่อนอาหารประเภททอด จะช่วยป้องกันโรคที่เกิดจากอาหารที่มีไขมันสูง และผู้เชี่ยวชาญเชื่อว่าการกินโยเกิร์ตไขมันต่ำหนึ่งกระปุกต่อวัน สามารถช่วยบรรเทาความทุกข์ทรมานจากโรคข้ออักเสบ และรักษาโรคหอบหืดได้

NEWS UPDATE: แคลเซียมจากนมตั้งแต่แรกเกิด มีส่วนสร้างความแข็งแรงให้กระดูกไปตลอดชีวิต

แม้ว่าปัจจัยต่างๆ เช่น อายุและเพศ มีผลต่อโอกาสในการเป็นโรคกระดูกพรุน แต่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตหลายๆ อย่าง ก็สามารถลดความเสี่ยงจากโรคนี้ได้ ซึ่งรวมไปถึงการแนะนำให้เด็กแรกเกิดกินนมแม่ถึงหนึ่งขวบ และเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 1-4 ปีต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนทุกหมวดหมู่

INTERVIEW: แม่ตั้ม—ศิระษา จังธรานนท์ แม่ที่ไม่ปล่อยให้ลูกที่แพ้ (อาหาร) ต้องดูแลตัวเอง

แรงบันดาลใจที่ทำให้คุณแม่ตั้ม—ศิระษา จังธรานนท์ หันมาสนใจเรื่องอาหารสำหรับเด็กแพ้อาหารนั้น ก็เพราะน้องยินดี—ลูกสาววัย 6 ปี ที่เคยเกือบเสียชีวิตเพราะอาการแพ้อาหารมาแล้ว ก่อนที่คุณแม่ตั้มจะรู้ว่า ในบรรดาอาหาร Big 8 Food Allergens นั้น น้องยินดีกวาดมาแพ้ไปแล้ว 6 ชนิด และยังเป็น 6 ชนิดที่ดูเหมือนจะเป็นส่วนประกอบสำคัญของอาหารที่เรากินกันในชีวิตประจำวันเสียด้วย… แล้วคุณแม่ตั้มจะรับมืออาการแพ้อาหารของน้องยินดีอย่างไร และมีทางเอาชนะมันหรือไม่ คงต้องให้คุณแม่ตั้มเล่าให้ฟัง

NEWS UPDATE: 5 ข้อเท็จจริงผิดๆ เรื่องโภชนาการ

เนยไม่ดีกับสุขภาพเราหรือเปล่า, น้ำปั่นและน้ำผลไม้รสหวานไม่ดีจริงหรือ, และกินไข่แค่ไหนถึงจะดี… ถ้ายังไม่แน่ใจก็ตามมาอ่านกันเลย

NEWS UPDATE: ไม่แน่ว่าคุณอาจกินแมลงมาตลอดชีวิตแล้วก็ได้

ใครที่หวาดกลัวการกินแมลง ได้เวลาคิดใหม่แล้ว เพราะวัตถุดิบหลักในอุตสาหกรรมอาหารทั่วโลกในอนาคตอาจเป็นแมลง

NEWS UPDATE: ถั่วเป็นอาหารทางเลือกที่ดี แต่อาจต้องมีปัจจัยอื่นด้วย

มีงานวิจัยที่แสดงให้เห็นว่า ถั่วมีกรดไขมันไม่อิ่มตัว เส้นใย และแร่ธาตุสูง ซึ่งอาจช่วยลดความเสี่ยงของโรคหัวใจและโรคหลอดเลือดได้ แต่งานวิจัยจากสวีเดนที่เผยแพร่ทางเว็บไซต์ฮาร์ต (Heart) พบว่า ประโยชน์ที่ร่างกายจะได้รับจากถั่วก็มีข้อจำกัด และขึ้นอยู่กับพฤติกรรมทางสุขภาพอื่นๆ ด้วย