Category: listen

ลูกไม่ฟังทำยังไงดี!? 6 วิธีรับมือกับลูกวัยหัดเดินที่ไม่ยอมฟังใคร

หน้าที่ของคนเป็นพ่อแม่ ถือเป็นงานที่ท้าทายความสามารถไม่เว้นแต่ละวัน เพราะคนเป็นพ่อแม่ต้องรู้จักเรียนรู้และปรับตัวให้ทันการเติบโตและพัฒนาการของลูก ลูกที่ว่าเลี้ยงยากเข้าใจยากตอนที่เป็นทารก พอโตขึ้นในวัยหัดเดิน ถึงแม้จะสามารถสื่อสารกันเข้าใจมากขึ้น แต่ธรรมชาติของช่วงวัยที่กำลังอยากรู้อยากเห็น อยากทดลอง ตื่นเต้น และพยายามเรียนรู้สิ่งต่างๆ รอบตัว ทำให้คุณพ่อคุณแม่ทั้งตื่นเต้นกับการเรียนรู้ของลูก แต่ขณะเดียวกันก็ต้องคอยหาทางรับมือและกุมขมับให้กับความดื้อรั้นที่เต็มเปี่ยมของลูกไปด้วย

4 เหตุผลสำคัญที่พ่อแม่ควรเปิดใจรับฟังลูกเยอะๆ

ในแต่ละวันของคนเราก็มีเรื่องราวให้เจอมากมาย ไม่ว่าจะเรื่องงาน ครอบครัว การเรียน ความสัมพันธ์ ซึ่งบางครั้งสิ่งเหล่านี้ก็ทำให้เรามีความสุขสุดๆ แต่บางครั้งก็ทำให้ทุกข์ใจจนไม่เห็นทางออก แต่ไม่ว่าจะเป็นความสุขหรือความทุกข์ สิ่งที่คนเราต้องการก็คือได้เล่าหรือแบ่งปันเรื่องราวที่พบเจอกับใครสักคน

‘ฟัง’ อย่างไร ให้เข้าใจลูกอย่างแท้จริง

อีกหนึ่งปัญหาท็อปฮิตในใจคุณพ่อคุณแม่หลายคนคือ ลูกไม่ยอมเล่าปัญหาให้ฟัง คนเป็นพ่อแม่ก็ทุกข์ใจที่ลูกไม่เล่าให้ฟัง คนเป็นลูกก็ทุกข์ใจไม่รู้จะไปเล่าให้ใครฟัง แต่ถ้าหากมีโอกาสมาเจอกันตรงกลาง ลูกกล้าเล่า พ่อแม่ตั้งใจฟัง การฟังที่ดีและถูกต้องเป็นวิธีที่จะช่วยให้ลูกกล้าเล่าปัญหาในครั้งต่อๆ ไปให้ฟังได้เหมือนกันนะ

7 เทคนิคที่จะช่วยให้ลูกเป็นเด็กรู้ภาษา

เคยสังเกตตัวเองไหม ว่าในหนึ่งวันคุณพูดกับลูกน้อยมากน้อยแค่ไหน โดยเฉพาะเมื่อลูกอยู่ในวัยหัดพูด คุณอาจไม่แน่ใจว่าลูกจะเข้าใจสิ่งที่คุณพูดบ้างหรือเปล่า แต่ความจริงแล้วเด็กวัยนี้นี่แหละที่กำลังเรียนรู้เรื่องการสื่อสาร

คำตอบที่จะทำให้ลูกเลิกถามว่า ทำไม เพราะอะไร ตลอดเวลา!!!

เมื่อลูกเริ่มสื่อสารรู้เรื่อง จะกลายเป็นช่วงชีวิตหนึ่งที่ลูกของคุณจะเปลี่ยนจากเด็กน้อยธรรมดา กลายเป็นเจ้าหนูจำไม เพราะไม่ว่าจะอยู่ในสถานการณ์อะไรก็ตาม เขาจะคอยถามคุณว่าทำไม เพราะอะไร… อยู่ตลอดเวลา

6 เคล็ดลับที่จะทำให้ลูกเชื่อฟังมากขึ้น

การที่จะทำให้ลูกสงบและยอมทำตามที่คุณบอกนั้น บางครั้งก็ยากเหมือนการเข็นครกขึ้นภูเขา เราจึงมี 6 เคล็ดลับที่จะช่วยให้การเข็นครกของคุณพ่อคุณแม่ ไม่ยากอย่างที่คิด

ทำอย่างไรให้ลูกฟัง โดยที่คุณพ่อคุณแม่ไม่ต้องตะโกนหรือส่งเสียงดัง

และนี่คือ 9 ท่าทางที่คุณสามารถสื่อสารกับลูกได้เข้าใจ โดยไม่จำเป็นต้องตะโกนหรือส่งเสียงดังอีกต่อไป