บ้านและครอบครัวคือพื้นฐานสำคัญที่จะสอนให้ลูกเรียนรู้การเคารพกฎระเบียบในสังคม แต่บางครั้งลูกก็พยายามเหลือเกินที่จะต่อต้านและไม่ยอมทำตามกฎระเบียบที่คุณพ่อคุณแม่วางไว้ ยิ่งบอก ยิ่งเตือนก็เหมือนลูกจะยิ่งอยากฝืนกฎมากขึ้นเรื่อยๆ จนคุณพ่อคุณแม่เข้าใจว่าลูกมีนิสัยหรือชอบทำตัวเป็นเด็กดื้อ ไม่เชื่อฟัง และไม่รู้ว่าจะรับมือกับลูกได้อย่างไร
การเล่นนับเป็นหนึ่งในกระบวนการการเรียนรู้ที่สำคัญสำหรับเด็ก ไม่ว่าจะเป็นการเล่นของเล่น เล่นหยอกล้อกับคุณพ่อคุณแม่ หรือแม้แต่การเล่นกับตัวเองเพื่อสำรวจ ทดลอง และฝึกฝนการใช้ร่างกาย และกล้ามเนื้อที่สำคัญต่างๆ
การบริจาคสิ่งของ เป็นทางเลือกที่ดีเมื่อมีข้าวของที่ไม่จำเป็นและไม่ได้ใช้ประโยชน์จากมันมากเกินความพอดี ไม่ว่าจัเป็นเสื้อผ้าของลูกที่ใส่ไม่ได้แล้ว หนังสือที่ลูกเลิกอ่านแล้ ของเล่นที่ลูกไม่ได้เล่นแล้ว หรืออะไรก็ตามที่พอจะมีประโยชน์กับคนอื่นมากกว่าการเก็บเอาไว้เฉยๆ
สถานการณ์ของ COVID-19 ในประเทศไทยยังไม่มีแนวโน้มว่าจะดีขึ้น ถึงแม้โรงเรียนจะเปิดเทอมให้เด็กๆ ได้กลับมาเรียนหนังสือกันอีกครั้ง แม้หลายโรงเรียนจะใช้วิธีเรียนออนไลน์กับเด็กๆ แต่พ่อแม่ ก็ไม่สามารถสบายใจได้ เมื่อโรคระบาดดูเหมือนจะเข้ามาประชิดครอบครัวของเรามากขึ้นทุกที
พยายามสื่อสารมาสองตอนแล้วว่า ‘การเล่น’ มีคุณค่าอยู่ในตัวของมัน โดยไม่จำเป็นต้องให้ใครเอาไปผูกไว้กับการเรียนรู้เลยก็ได้เพราะถ้าถามนักเล่น ซึ่งก็หมายถึงเด็กๆ ว่า เราเล่นกันไปเพื่ออะไร ก็ไม่น่าจะมีใครตอบว่าเล่นเพื่อเรียนรู้เลยล่ะ วันนี้ ก็เลยอยากจะชวนคุยกันต่อ แต่เป็นประเด็นที่ว่า แล้วถ้าอย่างนั้น การเรียนรู้ที่ดูเหมือนการเล่นสนุกล่ะ มีอยู่จริงหรือเปล่า
หนึ่งในแนวคิดที่น่าสนใจของพ่อแม่ชาวสวิตเซอร์แลนด์ อาจทำให้พ่อแม่อย่างเราๆ ต้องหันขวับ เพราะคิดว่าฟังผิดหรือเข้าใจผิดไปเองหรือเปล่าก็คือ ในขณะที่เมื่อพูดเรื่องเงิน เรามักจะสอนลูกให้รู้จักการประหยัดและเก็บออมเงินเอาไว้ก่อน แต่สำหรับชาวสวิตเซอร์แลนด์ไม่คิดอย่างนั้น