Category: INTERVIEW

อำนาจนิยม ความเหลื่อมล้ำ และการหลุดออกจากระบบการศึกษาไทย: คุยกับ ปารมี ไวจงเจริญ ส.ส. บัญชีรายชื่อพรรคก้าวไกล

วันนี้มีโอกาสพูดคุยกับ ปารมี ไวจงเจริญ หรืออาจารย์จวง ส.ส. บัญชีรายชื่อจากพรรคก้าวไกล มาพูดคุยเกี่ยวกับมุมมองการศึกษาไทย การแก้ปัญหาเด็กหลุดออกจากระบบการศึกษา และชุดนักเรียนช่วยลดความเหลื่อมล้ำได้จริงหรือ…

เพราะเด็กแต่ละคนมีความเก่งในแบบของตัวเอง: คุยกับครูเล็ก – ภัทราวดี มีชูธน กับอีกหนึ่งบทบาทของความเป็นครู

แต่สำหรับ ครูเล็ก—ภัทราวดี มีชูธน ในวัยที่มีเลข 7 นำหน้าเลขอายุ ทุกวันครูเล็กก็ยังคงลุกขึ้นมาใช้ชีวิตและทำตามความฝันของตัวเอง ในสถานที่ที่เต็มไปด้วยชีวิต จิตใจ และด้วยแรงบันดาลใจที่ไม่เคยจางหายไปตามกาลเวลา

#เมื่อโลกนี้ใจดีกับบุ๋น : คุยกับคุณแม่ผึ้ง ในวันที่ลูกคนพิเศษเกิดมาพร้อมกับความพิเศษ

ถ้าได้ลองเข้าไปทำความรู้จักกับโลกแห่ง Tiktok หลายคนน่าจะเคยได้เห็นคลิปน้องบุ๋น–ณัฐกฤต ลิมปาวิภากร เด็กพิเศษและนักเรียนชายชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 ซึ่งเป็นที่รักและได้รับการดูแลจากเพื่อนๆ ร่วมชั้นเรียนเป็นอย่

ชวน คลีโพ คุยเรื่องลูก

ในยุคสมัยนี้ ศิลปะและวัฒนธรรม นับว่าเป็นเครื่องมือที่สามารถสื่อสารกับผู้คนทั่วโลกได้อย่างหลากหลายและไร้พรมแดนทางภาษา เช่นเดียวกันกับคุณคลี–ณัฐวุฒิ ธุระวร หรือ คลี โพ ศิลปินชาวปกาเกอะญอ ที่เลือกจะสื่อสารกับผู้คนผ่านเสียงดนตรี และเลือกที่จะซื่อสัตย์กับอาชีพของตนเอง

I TOMATO YOU: นิทรรศการ / มะเขือเทศ / ศิลปะ / และคุณแม่ลูกแฝด

I TOMATO YOU คือชื่อนิทรรศการเดี่ยวครั้งล่าสุดของ S I R I หรือ กวาง–สิรินาฏ สายประสาท ศิลปินและคุณแม่ของสาวน้อยฝาแฝด ฟ้า–ทะเล เด็กผู้หญิงวัย 4 ขวบ ผู้เป็นเจ้าของคาแรกเตอร์มะเขือเทศน้อยที่โดดเด่นอยู่ภายในงาน

การลาคลอดเป็นเรื่องของใคร?: คุยกับจะเด็จ เชาวน์วิไล หนึ่งในผู้เรียกร้องสิทธิลาคลอดให้แม่ทุกคน

ลาคลอด แล้วใครจะทำงานแทน?
บอกเจ้านายว่าท้องแล้วจะโดนกดดันให้ลาออกไหม?
สิทธิลาคลอดได้นาน ไม่ยุติธรรมกับคนโสดหรือคนไม่อยากมีลูกหรือเปล่า?

อยากให้กรุงเทพฯ เป็นยังไง: ในสายตาคุณพ่อ รองผู้ว่าฯ และหัวหน้าครอบครัว ‘หวังสร้างบุญ’

ตั้งแต่กรุงเทพฯ มีผู้ว่าราชการชื่อ ชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ต้องยอมรับว่า หนึ่งในทีมงานที่ได้รับการจับตามองในฐานะ รองผู้ว่าฯ ที่อายุน้อยที่สุดในปฐพี เอ๊ย! น้อยที่สุดเท่าที่ประเทศไทยเคยมีมาก็คือ รองผู้ว่าฯ ศานนท์ หวังสร้างบุญ ชายหนุ่มวัย 33 ปี ที่ก่อนหน้านี้ เราได้เห็นการให้สัมภาษณ์เกี่ยวกับการเข้ามารับตำแหน่งอย่างไม่ทันตั้งตัวมาแล้วหลายต่อหลายครั้ง

เมื่ออยากได้คำตอบ จึงต้องออกเดินทาง: คุยกับแพรว–ภัชชา เหมหงษา ครูอาสาที่อาสาไปไกลถึงบนดอย

สำหรับแพรว การตัดสินใจขึ้นดอยในหน้าหนาว ไม่ใช่การไปเที่ยวเพื่อสัมผัสอากาศหนาวเย็นในฐานะนักท่องเที่ยวเท่านั้น แต่เธอจะขึ้นดอยไปเป็นครูอาสา เลือกที่จะใช้เวลาสี่เดือนอยู่ที่นั่นเพื่อหาคำตอบบางอย่างและเข้าใจการใช้ชีวิตบนดอยให้มากที่สุด

Home school ไม่ใช่การเก็บลูกไว้แต่ในบ้าน: คุยกับคุณแม่แนน เจ้าของเพจ Homeschool No50 บ้านเรียนเลขที่ 50

เรารู้กันดีว่า โฮมสกูล หรือ บ้านเรียน ไม่ใช่เรื่องใหม่ แต่ก็ไม่ใช่เรื่องที่พ่อแม่ทุกคนจะรู้จักและคุ้นเคยจนสามารถวางใจเลือกให้ลูกเล่าเรียนในเส้นทางนี้ได้โดยไม่ต้องหาข้อมูลซ้ำไปซ้ำมาวันละหลายๆ รอบ และคงไม่มีใครที่จะให้ข้อมูลเหล่านี้ได้ดีไปกว่าครอบครัวที่มีประสบการณ์ตรงมาก่อน

เมื่อความรุนแรงฝังราก เด็กๆ ของเราจะหลุดพ้นจากความรุนแรงในครอบครัวอย่างไร – คุยกับ รศ. อภิญญา เวชยชัย

แม้ไม่อยากให้เป็นเช่นนั้น แต่เราต้องยอมรับความจริงว่า สิ่งที่ไม่เคยหายไปจากหน้าข่าวสารหรือการรับรู้ของเราเลย ก็คือเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว การกระทำและพฤติกรรมที่เป็นการละเมิดต่อเด็ก อาจจะเป็นข่าวใหญ่บ้าง เล็กบ้าง อยู่ในความสนใจช่วงเวลาหนึ่ง หรือเป็นเพียงกระแสที่ดังขึ้นมาเพียงวูบแล้วก็ดับไปก็ตาม