Author: Nidnok

เมื่อความรุนแรงฝังราก เด็กๆ ของเราจะหลุดพ้นจากความรุนแรงในครอบครัวอย่างไร – คุยกับ รศ. อภิญญา เวชยชัย

แม้ไม่อยากให้เป็นเช่นนั้น แต่เราต้องยอมรับความจริงว่า สิ่งที่ไม่เคยหายไปจากหน้าข่าวสารหรือการรับรู้ของเราเลย ก็คือเหตุการณ์ความรุนแรงในครอบครัว การกระทำและพฤติกรรมที่เป็นการละเมิดต่อเด็ก อาจจะเป็นข่าวใหญ่บ้าง เล็กบ้าง อยู่ในความสนใจช่วงเวลาหนึ่ง หรือเป็นเพียงกระแสที่ดังขึ้นมาเพียงวูบแล้วก็ดับไปก็ตาม

New Senior School การพัฒนาที่ไม่หยุดนิ่งของ Shrewsbury Riverside: สำรวจความเจ๋งของตึกเรียนใหม่ และเคล็ดลับว่าทำไมนักเรียนของที่นี่จึงได้รับการตอบรับจากมหาวิทยาลัยชั้นนำทั่วโลก

M.O.M มีโอกาสพูดคุยกับผู้บริหาร และคุณครูของโรงเรียนนานาชาติโชรส์เบอรี กรุงเทพ ริเวอร์ไซด์ มาแล้วหลายครั้ง แต่ละครั้งก็จะอยู่ในขอบเขตเรื่องของเด็กปฐมวัยไปถึงชั้นประถมที่เราคุ้นเคย จึงเหมือนเรากำลังค่อยๆ หยิบจิ๊กซอว์มาเรียงต่อกัน เป็นภาพเส้นทางการเติบโตของเด็กคนหนึ่งในรั้วของโรงเรียนแห่งนี้

Here to create the ‘Holistic Learner’ ภารกิจของคุณครูใหญ่ (แผนกประถม) ในโลกที่กำลังมองหาเด็กที่เป็นนักเรียนรู้รอบด้าน กับ Philip Stewart—Head of Junior, Shrewsbury International School Bangkok Riverside

เพราะช่วงเวลาปฐมวัยของเด็กๆ เป็นวัยที่สำคัญที่สุดในการสร้างทัศนคติที่ดีต่อการเรียนรู้ การคัดเลือกบุคลากรที่จะทำงานกับเด็กในช่วงชั้น Junior School จึงต้องเป็นไปอย่างพิถีพิถัน เพื่อให้ได้คนที่มีประสบการณ์ด้านการสอน มีความเข้าใจ และสามารถส่งแรงบันดาลใจให้กับเด็กนักเรียนได้

5 เรื่องเบื้องหลัง ‘ตาตุและปาตุ’ อะไรที่ทำให้หนังสือสุดเพี้ยนจากฟินแลนด์ชุดนี้ เดินทางไกลไปทำให้เด็กทั่วโลกตกหลุมรัก

กว่าสองปีแล้วที่นักอ่านรุ่นเล็ก (และรุ่นใหญ่) ชาวไทยได้รู้จักกับสองตัวละครสุดเพี้ยน ตาตุและปาตุ ผ่านหนังสือเล่มไม่หนาเท่าไหร่ แต่ทำไมถึงได้อัดแน่นไปด้วยเรื่องราวขวนหัว จินตนาการที่ชวนประหลาดใจ คิดได้ยังไงเนี่ย กลายเป็นกระแสบอกต่อกันในหมู่เด็ก จากเล่มแรก สู่เล่มที่สอง และล่าสุดเมื่อไม่กี่เดือนมานี้ หนังสือชุด ตาตุและปาตุ ก็เพิ่งได้แปลและตีพิมพ์เป็นภาษาไทยเป็นเล่มที่สี่ (บวกกับอีกหนึ่งสมุดกิจกรรม) เป็นที่เรียบร้อย

เพราะการหยุดเรียนไม่ได้หมายถึงหยุดเรียนรู้ ทำความเข้าใจข้อเสนอ ‘หยุดเรียนหนึ่งปี’ กับอาจารย์สุมิตร สุวรรณ

เมื่อสัปดาห์ก่อน มีข้อเสนอที่กลายเป็นทอล์กออฟเดอะทาวน์ คือการที่นักวิชาการด้านการศึกษาออกมาเสนอให้ ‘หยุดเรียนหนึ่งปี’ เพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิดจากการเรียนออนไลน์ต่อเนื่องเข้าสู่ปีที่สองของเด็กไทยตั้งแต่ระดับอนุบาลไปจนถึงระดับอุดมศึกษา ความเคร่งเครียดนี้ไม่ได้ส่งผลต่อแค่ตัวเด็ก แต่ยังหมายรวมถึงคุณครู พ่อแม่ผู้ปกครอง ปู่ย่าตายาย และใครก็ตามที่อยู่ ‘หน้างาน’ และกำลังเผชิญปัญหารายวัน ที่ต้องแบกภาระงานเดิม เพิ่มเติมคือการทำงานรูปแบบใหม่ และดูเหมือนจะเป็นภาระและปัญหาที่ยังไม่ได้รับการเยียวยาเท่าที่ควร

บริหารสมองลูกผ่านกล้ามเนื้อมัดเล็ก ผ่านกิจกรรมที่เด็กๆ โปรดปราน

นอกจากการให้ลูกได้วิ่งเล่นและออกกำลังกายแล้ว เด็กๆ จึงควรมีกิจกรรมที่จะช่วยพัฒนากล้ามเนื้อมัดเล็กและกระตุ้นความคิดสร้างสรรค์ ที่สามารถเล่นสนุกได้ภายในบ้าน ด้วยกิจกรรมง่ายๆ

เด็ก ป.1 ของเราต้องเจอกับอะไรบ้าง ในก้าวแรกที่แสนสำคัญสู่สังเวียนการศึกษา กับสองผู้กำกับจากภาพยนตร์สารคดี ชั้นหนึ่ง

เรื่องราวและรูปแบบการศึกษาของเด็กๆ ที่เพิ่งก้าวออกจากวัยอนุบาลที่เอาแต่เล่น เข้าสู่โลกของการเรียนรู้ในฐานะเด็ก ‘ชั้นหนึ่ง’ ทั้งหมดถูกเล่าออกมาในรูปแบบภาพยนตร์สารคดีความยาว 90 นาที ชื่อเรื่อง ชั้นหนึ่ง (First Grade) ที่เพิ่งเปิดฉายแบบออนไลน์ให้กับกลุ่มผู้สนใจที่ได้ลงทะเบียนไว้ล่วงหน้า และมีแผนการที่จะเข้าฉายในโรงภาพยนตร์เมื่อสถานการณ์โควิด-19 คลี่คลาย

ความกังวลของพ่อแม่คือภาพสะท้อนของสังคม: คุยเรื่องอดีต ปัจจุบัน และอนาคต จากประสบการณ์สามสิบปีในวงการพ่อแม่ของ สุภาวดี หาญเมธี แห่ง ‘รักลูกกรุ๊ป’

วันหนึ่งในแอปพลิเคชัน Clubhouse เราตั้งห้องคุยว่าด้วยบทบาทของปู่ย่าตายายกับการเลี้ยงเด็กในยุคสมัยนี้ ด้วยความตั้งใจที่อยากจะเข้าใจมุมคิดของฝั่งผู้ใหญ่ด้วย จึงได้ชวน พี่ติ่ง—สุภาวดี หาญเมธี ประธานกรรมการบริหารสถาบันรักลูกกรุ๊ป (RLG) อดีตบรรณาธิการนิตยสารรักลูก และผู้ร่วมก่อตั้งโรงเรียนเพลินพัฒนา เข้ามาร่วมวงพูดคุย ในฐานะ คุณย่า ของหลานชายวัยซนสองคน

ชีวิตคุณแม่ช่วงนี้ตรงกับเพลงไหน เช็กได้ใน คาราโอเกะชั้นคือแม่

เมื่อเจ้าโควิด-19 จอมวายร้ายกลับมา ก็พาให้ทุกคนกลับสู่เทศกาลอยู่บ้านกับลูกกันอีกครั้ง แม้จะมีประสบการณ์กันมาแล้วจากเมื่อครั้งก่อน จนทำให้เก่งกันขึ้นบ้าง แต่พอทุกอย่างมารวมกัน ทั้งงาน งานบ้าน และลูก ก็ทำเอาคุณพ่อคุณแม่หลายบ้านปวดหัวกันอยู่ไม่น้อย

โรงเรียนจิตตเมตต์ (ปฐมวัย) สร้างเด็กที่เติบโตอย่างเป็นธรรมชาติ ผ่านการเล่น ดนตรี และศิลปะ

ทุกวันศุกร์ โรงเรียนจะจัดให้เป็นวัน free play หรือวัน ‘เล่นอิสระ’ ที่จะจัดฐานกิจกรรมจากปกติที่เด็กๆ เล่นในห้องเรียนมาขยายให้ใหญ่ขึ้น จากที่เคยมีพื้นที่และขอบเขตขนาดเท่าห้อง วันนี้ก็จะขยายอาณาเขตให้กว้างเท่ารั้วโรงเรียน ขยายช่วงเวลาให้นานขึ้น เพื่อนที่เคยเล่นและเจอกันแค่ในห้อง ก็จะเปิดกว้าง กลายเป็นเด็กทั้งโรงเรียน ทุกวัย ทุกห้อง ลงมาเข้าฐานเล่นร่วมกันได้ ‘ตามใจชอบ’