NEWS UPDATE: การออกกำลังกายมีผลกับสมองส่วน Hippocampus ส่งผลให้เด็กฉลาด ความจำดี และแข็งแรง

งานวิจัยจาก University of Illinois ประเทศสหรัฐอเมริกา ทำการศึกษาการทำงานของสมองเด็กจำนวน 49 คน อายุระหว่าง 9 - 10 ขวบ ด้วยการสแกน MRI..

6 วิธีป้องกันลูกจากภัยลักพาตัว

ในสังคมที่มีมิจฉาชีพและข่าวเหตุการณ์ร้ายๆ เกิดขึ้นกับเด็ก จนคุณพ่อคุณแม่ไม่อยากวางใจให้ลูกน้อยคลาดสายตาแม้แต่นาทีเดียว เพราะบางครั้งการคลาดหรือผลัดหลงกับลูกในเวลาไม่นาน ก็อาจจะมีคนแปลกหน้าพาตัวลูกรักของคุณไปแล้ว นี่เป็นสิ่งที่ไม่มีใครอยากให้เกิดขึ้น

คุยกับ รศ.นพ.อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์: รถหัดเดิน ไม่ได้ช่วยหัดเดิน และยังอันตรายกว่าที่เราคิด

หลังจากข่าวเหตุการณ์ที่รถหัดเดินทำให้เกิดความสูญเสียเมื่อช่วงต้นเดือนพฤษภาคมที่ผ่านมา M.O.M จึงถือโอกาส เชิญรศ.นพ. อดิศักดิ์ ผลิตผลการพิมพ์—ผู้อำนวยการสถาบันแห่งชาติเพื่อการพัฒนาเด็กและครอบครัว มาพูดคุยเพื่อคลายความสงสัยเกี่ยวกับประโยชน์หรือโทษของรถหัดเดินเจ้าปัญหากันอีกครั้ง ด้วยความหวังว่า วันหนึ่งเหตุการณ์เช่นนี้จะหมดไปจริงๆ สักที

3 กิจกรรมเล่นกับทารก เพื่อส่งเสริมให้ลูกมีพัฒนาการทางสมองที่ดี

คุณพ่อคุณแม่รู้หรือไม่ว่า สามปีแรกนับตั้งแต่วันที่ลูกน้อยลืมตาออกมาดูโลก สมองของทารกสามารถพัฒนาได้มากถึง 80% เพราะฉะนั้นนี่คือช่วงเวลาที่สำคัญที่คุณพ่อคุณแม่จะมีส่วนช่วยให้ลูกมีพัฒนาการที่ดี ซึ่งทำได้โดยการมีกิจกรรมมาเล่นกับลูก

10 ความเปลี่ยนแปลงหลังคลอดลูกน้อย

คุณแม่มือใหม่ส่วนมากมักจะกังวลและสนใจข้อมูลเกี่ยวกับการตั้งครรภ์และคลอดลูกอย่างจริงจัง แต่มักจะมองข้ามเรื่องการเตรียมตัวรับการเปลี่ยนแปลงหลังคลอดลูกแล้ว

วันที่รู้ว่าลูกเป็นโรคสมาธิสั้น แม่ดีใจมากที่ได้รู้ว่าเขาเป็นอะไร

หากเราเป็นคุณแม่ที่คุณหมอวินิจฉัยบอกว่าลูกเป็นโรคสมาธิสั้น ก็คงถือเป็นเรื่องที่สร้างความทุกข์ใจให้กับครอบครัวไม่น้อย แต่ไม่ใช่กับ คุณแม่บุ๋ม—ภัทรา เลิศชนะเรืองฤทธิ์ เพราะเมื่อทราบว่าน้องวีวี่ลูกสาววัยเจ็ดขวบ ที่เป็นเด็กซุกซนเกินพอดี ไม่มีสมาธิ วอกแวกง่าย และไม่ค่อยอยู่นิ่งได้เลย มีสาเหตุมาจากโรคสมาธิสั้น นี่จึงเป็นจุดเริ่มต้นในการสัมภาษณ์ว่าเลี้ยงลูกที่เป็นสมาธิสั้นอย่างไรให้มีความสุข

เมื่อต้องเป็นคุณพ่อหรือคุณแม่เลี้ยงเดี่ยว จะวางแผนยังไงดี

การเป็นคุณพ่อหรือคุณแม่เลี้ยงเดี่ยวไม่ใช่เรื่องง่าย นอกจากความรู้สึกแย่และรู้สึกผิดต่อลูกที่ไม่สามารถรักษาครอบครัวที่สมบูรณ์เอาไว้ได้ การทำหน้าที่เป็นทั้งพ่อและแม่ รวมถึงการหาเงินดูแลครอบครัวก็ไม่ใช่เรื่องที่จะปรับตัวให้รับมือกับสถานการณ์นี้ได้โดยง่าย

NEWS UPDATE: พ.ร.บ. การพัฒนาเด็กปฐมวัย พ.ศ. 2562 ประกาศใช้อย่างเป็นทางการแล้ว แต่ประเด็นการสอบเข้าป.1 ยังไม่ได้รับความชัดเจนว่าต้องสอบเข้าหรือไม่ ต้องรอประกาศจากคณะกรรมการนโยบายการพัฒนาเด็กปฐมวัยอีกที

เมื่อวันที่ 30 เมษายนที่ผ่านมา พ.ร.บ. การพัฒนาเด็กปฐมวัยที่เชื่อว่าเป็น พ.ร.บ. ที่ดีทีสุดสำหรับเด็กปฐมวัยได้ออกประกาศใช้ในราชกิจจานุเบกษาเป็นที่เรียบร้อยแล้ว จากฉบับร่างมาจนถึงฉบับปัจจุบัน สาระสำคัญที่นักวิชาการและผู้ที่เกี่ยวข้องได้ร่างขึ้นมาถูกตัดทอนออกในสามประเด็นใหญ่ ดังนี้ ประเด็นที่หนึ่ง: เรื่องการกำหนดอายุของเด็กปฐมวัย ใน พ.ร.บ. การพัฒนาเด็กปฐมวัย..

ผลลัพธ์ของการเลี้ยงลูกด้วยอารมณ์มากกว่าเหตุผล

การเลี้ยงลูกด้วยอารมณ์ ไม่ได้หมายถึงการทำโทษด้วยการตีเท่านั้น แต่รวมไปถึงการพูดเสียงดังใส่ลูก เหวี่ยงวีน หงุดหงิด ใช้คำพูดเชิงลบกับลูก ตะคอกใส่ลูก และทะเลาะกับลูก มากกว่าที่จะใช้เหตุผลอธิบาย

5 พฤติกรรมไม่ดีจากโรงเรียนที่ลูกพกติดตัวกลับบ้านด้วย

คุณพ่อคุณแม่หลายคนคาดหวังให้โรงเรียนเป็นสถานที่คัดกรองและขัดเกลาพฤติกรรมไม่ดีของลูก แต่ความจริงไม่ใช่อย่างนั้นเสมอไป เพราะนอกจากพฤติกรรมบางอย่างจะไม่หายไปแล้ว ยังมีพฤติกรรมไม่ดีอีกหลายอย่างที่ลูกเอาติดตัวกลับมาจากที่โรงเรียนอีกด้วย เพราะฉะนั้น ถึงแม้ลูกจะถึงวัยเข้าโรงเรียนแล้ว คุณพ่อคุณแม่ก็ควรสังเกตพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสม อธิบาย และสอนให้ลูกเข้าใจสิ่งที่ถูกต้องด้วยตัวเองเสมอ