Category: parenting

เคล็ดลับกินอาหารและใช้ชีวิตแบบเด็กญี่ปุ่น ประเทศที่เด็กสุขภาพดีที่สุดในโลก

ไม่ใช่แค่คุณภาพหรือรสชาติที่อยู่เบื้องหลังสุขภาพที่ดี แต่การทำให้มื้ออาหารเป็นช่วงเวลาที่มีความสุข คือกุญแจสำคัญที่สุดของความเฮลที้

เมื่อลูกชักดิ้นชักงอ เอาแต่ใจ (Temper Tantrums) คุณพ่อคุณแม่จะทำยังไงดี

ถ้าลูกกรีดร้อง อาละวาด และพยายามทำทุกอย่างเพื่อเอาชนะคุณพ่อคุณแม่ พีช—อรณิชชา เพ็ญวรรณ นักจิตวิทยาเด็ก วัยรุ่น และครอบครัว มีคำแนะนำมาให้

เคยไหมที่เผลอดุ ตี หรือทำไม่ดีกับลูก แล้วมาเสียใจทีหลัง มารู้จัก Mindful Parenting กันเถอะ

มารู้จักการเลี้ยงดูเด็กๆ ที่ใช้หลักการมีสติอย่าง Mindful Parenting ที่จะทำให้เราตอบสนองลูกได้ดีขึ้น

จะรู้ได้ยังไงว่าลูกแพ้อาหาร : 5 อาการที่แสดงว่าลูกแพ้อาหารเข้าให้แล้ว

เห็นเด็กๆ กินอาหารแล้วมีอาการผิดปกติ อย่าได้ชะล่าใจหรือคิดว่าเป็นอาการป่วยไข้ธรรมดา เพราะลูกอาจแพ้อาหาร และจะมีอาการหนักขึ้นเรื่อยๆ หากยังฝืนกินอาหารเดิมซ้ำๆ มาสังเกตอาหารและอาการของลูกให้ละเอียดขึ้นอีกนิดกันดีกว่า

NEWS UPDATE: ดูแลฟันลูกไม่ถูกวิธี อาจส่งผลต่อการพูดและโครงสร้างใบหน้าลูกในอนาคต

กว่าหนึ่งในสี่ของผู้ปกครองชาวอังกฤษคิดว่าฟันน้ำนมผุนั้นไม่เป็นไร… แต่จริงๆ แล้วเราควรใส่ใจต่อปัญหาสุขภาพฟันของลูก เพราะมันเพิ่มความเสี่ยงต่อปัญหาสุขภาพอื่นๆ ด้วย

หนูไม่ได้ขี้เกียจ แต่หนูอาจจะเป็นโรคบกพร่องทางการเรียนรู้ (LD)

ถ้าเด็กๆ พูดคุยรู้เรื่อง สื่อสารได้ดี กิจกรรมภาคปฏิบัติก็ไม่น้อยหน้าใคร แต่พอถึงเวลาต้องทำการบ้าน ให้เขียนหรืออ่านหนังสือขึ้นมาละก็ ทั้งเขียนผิดเขียนถูก อ่านคำยากไม่ออก คิดเลขไม่ได้ เด็กๆ อาจไม่ได้เกียจคร้าน แต่เขาอาจกำลังป่วยด้วยโรค LD ก็เป็นได้

มารยาทในการเข้าหาเด็กอย่างถูกต้อง

เวลาเห็นเด็กๆ น่ารัก ผู้ใหญ่หลายคนอาจนึกเอ็นดูและรู้สึกหมั่นเขี้ยว แต่รู้ไหมว่า แม้แต่การเข้าหาหรือทักทายเด็กๆ นั้นก็มีขอบเขตที่ควรและไม่ควรทำเหมือนกัน

NEWS UPDATE: คุณพ่อที่ออกกำลังกายเป็นประจำ อาจมีลูกที่ฉลาดกว่าคนอื่นๆ

ผลวิจัยล่าสุดรายงานว่า การออกกำลังกายส่งผลโดยตรงต่อสมองและสเปิร์มของสิ่งมีชีวิตเพศผู้ ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับสมองและระบบความคิดในรุ่นลูก

ลูกแค่งอแงหรือว่าเป็น ‘ภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน (School Refusal)’

เมื่อลูกไม่อยากไปโรงเรียน อย่าเพิ่งคิดว่าลูกเป็นเด็กดื้อ ขี้เกียจ หรืองอแง แต่ลองมาหาคำตอบกันว่า ลูกกำลังเผชิญหน้ากับภาวะไม่ยอมไปโรงเรียน อยู่หรือเปล่า…

NEWS UPDATE: แคลเซียมจากนมตั้งแต่แรกเกิด มีส่วนสร้างความแข็งแรงให้กระดูกไปตลอดชีวิต

แม้ว่าปัจจัยต่างๆ เช่น อายุและเพศ มีผลต่อโอกาสในการเป็นโรคกระดูกพรุน แต่การเปลี่ยนแปลงวิถีชีวิตหลายๆ อย่าง ก็สามารถลดความเสี่ยงจากโรคนี้ได้ ซึ่งรวมไปถึงการแนะนำให้เด็กแรกเกิดกินนมแม่ถึงหนึ่งขวบ และเด็กที่มีอายุตั้งแต่ 1-4 ปีต้องได้รับสารอาหารที่ครบถ้วนทุกหมวดหมู่