SEARCH RESULT : โรคสมาธิสั้น

ลูกโกรธง่าย : ทำไมลูกวัย 2-5 ขวบถึงโกรธและโมโหง่าย

พอลูกเริ่มเข้าวัยอนุบาล หรือช่วงอายุ 2-5 ขวบ คุณพ่อคุณแม่อาจเริ่มเห็นว่าลูกเริ่มเป็นเด็กหัวร้อน ขี้โมโห โวยวาย เอาแต่ใจ ร้องไห้เสียงดัง ขว้างและปาข้าวของ

ลูกควบคุมอารมณ์ตัวเองไม่ได้: 5 พฤติกรรมของคุณพ่อคุณแม่กระตุ้นให้ลูกเป็นเด็กโมโหร้าย

เวลาที่ลูกหงุดหงิด ไม่พอใจ และไม่ได้ดังใจ คุณพ่อคุณแม่หลายคนน่าจะเคยเห็นอาการ ลูกควบคุมอารมณ์ตัวเองไม่ได้ และแสดงออกเป็นพฤติกรรมก้าวร้าว โมโหร้าย เอาแต่ใจ และอาละวาดเพื่อให้ได้ในสิ่งที่ตัวต้องการ

ลูกซุ่มซ่าม: 4 วิธีรับมือเมื่อลูกเป็นเด็กซุ่มซ่าม

เด็กวัยเตาะแตะ อาจมีพฤติกรรม เดินสะดุด เดินหกล้ม ชนของ ชนนั่นชนนี่ ทำข้าวของหล่น ตกแตกเสียหาย หรือเรียกง่ายๆ ก็คือคุณพ่อคุณแม่รู้สึกว่า ลูกซุ่มซ่าม

อยากมีลูกคนที่สอง: ต้องมีวิธีเตรียมตัวเตรียมใจให้ลูกคนแรกด้วย

เมื่อคุณพ่อคุณแม่เริ่ม อยากมีลูกคนที่สอง นอกจากการเตรียมความพร้อมให้คุณพ่อคุณแม่เองแล้ว สิ่งที่ไม่ควรลืมเลยก็คือ การเตรียมตัวเตรียมใจลูกคนแรก

4 เทคนิคสร้างสรรค์รับมือลูกติดโทรศัพท์มือถือ

มีคุณพ่อคุณแม่ไม่น้อยที่กำลังต้องเผชิญปัญหา ลูกติดโทรศัพท์มือถือ แม้ว่าจะพยายามหลีกเลี่ยงและหาทางแก้ไข แต่สมาร์ตโฟนหรือแท็บเล็ตก็เป็นเครื่องมือสำคัญในการเรียนรู้ของเด็กในปัจจุบันอยู่ดี

ลูกไปเอานิสัยไม่ดีมาจากไหน!?: 5 เหตุผล ที่บอกว่าทำไมลูกมีพฤติกรรมไม่น่ารัก

ทั้งที่พยายามเลี้ยงดูและคอยเตือนคอยสอนให้ลูกรู้ว่าอะไรควรทำ ไม่ควรทำ เพราะอยากให้ลูกเป็นที่รักของทุกคน แต่บางทีลูกก็ยังแสดงพฤติกรรมไม่น่ารักออกมา จนคุณพ่อคุณแม่อดสงสัยไม่ได้ว่าลูกไปเอานิสัยไม่ดีมาจากไหน

5 การเลี้ยงดูเชิงบวก ช่วยพัฒนาเด็กสมาธิสั้น(ADHD)

โรคสมาธิสั้น หรือ Attention Deficit Hyperactivity Disorder (ADHD) คือ ภาวะผิดปกติทางจิตเวช ที่ทำให้เด็กขาดความสามารถในการควบคุมการเคลื่อนไหวของตัวเอง ทำให้มีลักษณะคล้ายเด็กซุกซน เพราะอยู่นิ่งไม่ได้ ไม่มีสมาธิ วอกแวกตลอดเวลา ไม่ค่อยโฟกัสหรือตั้งใจฟังเมื่อมีคนพูดด้วย รวมถึงการมีทักษะและพัฒนาการปรับตัวให้เข้ากับสังคมน้อยกว่าคนอื่น

ปกป้องลูกจากโรคย้ำคิดย้ำทำ (OCD) คุณพ่อคุณแม่ก็ทำได้!

โรคย้ำคิดย้ำทำ หรือ OCD (obsessive-compulsive disorder) เป็นหนึ่งในปัญหาจิตเวชที่สามารถเกิดขึ้นกับเด็กๆ และสร้างความเดือดเนื้อร้อนใจให้กับคุณพ่อคุณแม่ไม่น้อย ถึงแม้อาการของโรคย้ำคิดย้ำทำจะไม่รุนแรงหรือเป็นอันตรายถึงชีวิต แต่ก็ส่งผลกระทบต่อการใช้ชีวิตประจำวัน การเข้าสังคม การเรียนรู้ และสร้างพฤติกรรมอันไม่พึงประสงค์ได้

โรคขาดธรรมชาติ (Nature Deficit Disorder) มีด้วยเหรอ?

‘โรคขาดธรรมชาติ’ อาจเป็นชื่อโรคที่คุณพ่อคุณแม่หลายคนได้ยินแล้วรู้สึก เอ๊ะ… มีแบบนี้ด้วยเหรอ อาจเพราะเป็นอาการที่เหมือนจะถูกคิดไปเองและนิยามไปเอง แต่ความจริงแล้วโรคนี้เป็นเรื่องที่ใกล้ตัวมากกว่าที่คิด และมีแนวโน้มว่าจะเกิดขึ้นกับเด็กๆ ของเรามากขึ้นในอนาคต

4 ภัยเงียบของการให้ลูกอยู่กับหน้าจอมากเกินไป

ปัจจุบันหน้าจอคอมพิวเตอร์ โทรทัศน์ โทรศัพท์มือถือ หรือแท็บเล็ต เป็นสิ่งที่ใกล้ชิดและอยู่ในชีวิตประจำวันของเราทุกคนอย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้ แม้แต่เด็กๆ ก็จำเป็นที่จะต้องใช้อุปกรณ์เหล่านี้ในการเรียนรู้ ถ้าหากคุณพ่อคุณแม่ละเลยหรือปล่อยให้ลูกใช้เวลากับอุปกรณ์เหล่านี้มากเกินไปและผิดวิธี ย่อมไม่เป็นผลดีกับลูก